ทักษะพื้นฐานในการเป็นผู้ให้คำปรึกษา
และคู่มือปฏิบัติการ
Basic Counseling Skills & A Helper's Manual
เขียนโดย :
ดร.ริชาร์ด เนลสัน โจนส์
แปลโดย :
รศ.ดร.นวลศิริ เปาโรหิตย์
ดร.เมธินินท์ ภิญญูชน
บรรณาธิการโดย : สมชัย เบญจมิตร
คำกล่าวที่ว่า “การช่วยเหลือผู้อื่น เพิ่มความสุขให้กับตนเองเป็นสองเท่า และแบ่งเบาความทุกข์ของตัวเราลงครึ่งหนึ่ง” นั้น เป็นคำกล่าวที่น่าสนใจยิ่ง ซึ่งการช่วยเหลือผู้อื่นโดยเฉพาะทางด้านจิตใจนั้น จะช่วยทำให้ชีวิตของทั้งตัวเราเองและบุคคลอื่นเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้นได้ เพราะทุกวันนี้มีคนเป็นจำนวนมากที่เมื่อเกิดความทุกข์ร้อนใจ ก็ไม่รู้จะระบายกับใคร ซึ่งหากเราต้องการที่จะช่วยเหลือหรือให้คำปรึกษาเขาเหล่านั้นแล้ว เราจำเป็นที่จะต้องมีความรู้และทักษะที่ดีด้วย จึงจะทำให้คำปรึกษาและความช่วยเหลือนั้นเกิดประโยชน์สูงสุด
หนังสือ “คู่มือให้คำปรึกษาและช่วยเหลือผู้อื่น : ทักษะพื้นฐานในการเป็นผู้ให้คำปรึกษาและคู่มือปฏิบัติการ” เล่มนี้ เป็นหนังสือดีที่เขียนโดย ดร.ริชาร์ด เนลสัน โจนส์ และแปลโดยนักจิตวิทยาที่มีชื่อเสียง ดร.นวลศิริ เปาโรหิตย์ และ ดร.เมธินินท์ ภิญญูชน ซึ่งจะช่วยให้ผู้อ่านมีทักษะที่ดีในการให้คำปรึกษาเพื่อช่วยเหลือบุคคลใกล้ตัวอันเป็นที่รักได้ในยามที่เขาเหล่านั้นทุกข์ร้อนใจ
สำนักพิมพ์ บี มีเดีย มีความภูมิใจที่ได้นำเสนอ หนังสือดี เล่มนี้ เพื่อให้ท่านได้มีทักษะที่ดีในการให้คำปรึกษาและช่วยเหลือผู้อื่น เพื่อให้เขาเหล่านั้นมีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นได้ตลอดไป
เพราะหนังสือดีเล่มนี้ ช่วยเปลี่ยนแปลงชีวิตคนเราให้ดีขึ้นได้
หมายเหตุบรรณาธิการ 4
คำนำจากผู้เขียน 5
จากใจผู้แปล 7
ส่วนที่หนึ่ง ความเข้าใจพื้นฐานของการให้คำปรึกษา
และช่วยเหลือผู้อื่น
1. ใครคือบุคคลที่ทำหน้าที่ในการให้คำปรึกษา
หรือช่วยเหลือผู้อื่น? 11
2. ทักษะพื้นฐานของการให้คำปรึกษามีอะไรบ้าง? 24
3. แนวคิดในการให้คำปรึกษาและช่วยเหลือผู้อื่น 35
4. ความแตกต่างระหว่างผู้ให้ความช่วยเหลือและผู้มาปรึกษา 46
5. ลักษณะของความสัมพันธ์ในการให้คำปรึกษา 58
6. กระบวนการช่วยเหลือ 67
ส่วนที่สอง ทักษะที่เฉพาะเจาะจงของการช่วยเหลือ
7. การเข้าใจมุมมองของผู้อื่น 80
8. การแสดงความใส่ใจและสนใจฟัง 89
9. การทวนสรุปและสะท้อนความรู้สึก 100
10. ทักษะการเริ่มต้นและโครงสร้างการให้คำปรึกษา 111
11. ทักษะการตั้งคำถาม 122
12. ทักษะการติดตามดู 132
13. ทักษะการท้าทายและการให้ข้อมูลป้อนกลับ 142
14. การเปิดเผยตัวเอง 152
15. วิธีการจัดการกับการต่อต้านไม่ร่วมมือและการส่งต่อ 162
16. การช่วยแก้ปัญหา 173
17. การโค้ช การสาธิต และการฝึกซ้อม 184
18. วิธีการฝึกผู้มาปรึกษาให้ผ่อนคลาย 194
19. การพัฒนาเทคนิคการพูดกับตนเอง 205
20. การพัฒนาสิ่งที่เป็นกฎระเบียบที่ผู้มาปรึกษายึดถือ 217
21. การพัฒนาการรับรู้ของผู้มาปรึกษา 229
22. การต่อรอง “การบ้าน” 239
23. การให้คำปรึกษาระยะกลาง 248
24. การยุติการให้คำปรึกษา 261
ส่วนที่สาม ประเด็นที่ต้องพิจารณาช่วยเหลือต่อไป
25. การให้คำปรึกษาสำหรับผู้ที่อยู่ต่างวัฒนธรรมและต่างเพศ 274
26. ประเด็นทางจริยธรรมและความขัดแย้งทางคุณธรรม
ของการให้คำปรึกษา 289
27. การได้รับความสนับสนุนและดูแลอย่างใกล้ชิด 304
28. การฝึกเพิ่มพูนความชำนาญ 317
บรรณานุกรม 330
เกี่ยวกับ ดร.นวลศิริ เปาโรหิตย์ 334