หมายเหตุ บรรณาธิการ
สิ่งที่ทำให้เราไม่บรรลุความสำเร็จ หรือทำงานที่ตั้งเป้าหมาย
ไว้ไม่เสร็จเรียบร้อยนั้น ปัญหาหลักคือ การแพ้ใจตัวเอง
มีนิสัยผัดวันประกันพรุ่งงานที่กำหนดไว้จนทำให้งานนั้น
ไม่เสร็จตามที่คาดหวัง จริง ๆ แล้วการทำงานให้ทันตามกำหนด
การปิดงานโครงการที่ทำให้เรียบร้อย และการทำให้สำเร็จ
ตามเป้าหมายนั้นสามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้
โดยเปลี่ยนแปลงที่ตัวคุณเอง เปลี่ยนที่นิสัยผัดวันประกันพรุ่งของตนเอง
หนังสือเล่มนี้จะช่วยให้คุณค้นพบปัจจัยทางจิตวิทยาที่ทำให้
คุณผัดวันประกันพรุ่งจนเป็นนิสัย เผยเคล็ดลับเอาชนะการผัดวันประกันพรุ่ง
คุณจะรู้วิธีทำงานให้ทันเส้นตาย ปิดงานโครงการจนเรียบร้อย
และทำสำเร็จได้ตามเป้าหมาย เผยให้เห็นถึงอุปสรรค
ทางอารมณ์ความรู้สึกที่คอยหลอกล่อให้ติดอยู่ในวังวน
ของพฤติกรรมที่เป็นปัญหา ช่วยให้ค้นพบกลยุทธ์นำไปประยุกต์ใช้
ในแต่ละขั้นตอนของการทำงานให้สำเร็จ และจัดการกับสิ่งที่เป็น
สาเหตุอันแท้จริงของการผัดวันประกันพรุ่งของคนเรา
หนังสือ “วิธีเปลี่ยนนิสัย ผัดวันประกันพรุ่ง ให้กลายเป็นคน
‘ทำอะไรก็สำเร็จ’ เสร็จตามเวลา” เล่มนี้เป็น หนังสือดี
แปลจากหนังสือขายดี “The Psychology of Procrastination :
Understand Your Habits, Find Motivation, and Get Things Done”
เขียนโดย ดร.เฮย์เดน ฟินช์ ที่จะช่วยให้ผู้อ่านเปลี่ยนแปลงตนเอง
ทำให้ชีวิตและความสำเร็จจะเป็นสิ่งที่คุณกำหนดได้
คุณจะเลิกนิสัยที่ฉุดรั้งคุณจนทำให้งานไม่สำเร็จเสร็จตามเป้าหมาย
จะเปลี่ยนเป็นคนใหม่ ที่เลิกนิสัยผัดวันประกันพรุ่ง
จะเป็นคนใหม่ที่ทำอะไรก็สำเร็จ เสร็จเรียบร้อยได้ตามเป้าหมายและเวลา
สำนักพิมพ์ บี มีเดีย ภูมิใจที่ได้จัดพิมพ์ หนังสือดี เล่มนี้
ที่จะช่วยให้ผู้อ่านมีกลยุทธ์ แนวทาง วิธีการ ในการเปลี่ยนนิสัยผัดวันประกันพรุ่ง
ทำให้สามารถทำงานได้สำเร็จ เสร็จเรียบร้อยตามที่กำหนดไว้
ส่งผลให้คุณมีชีวิตที่ดีกว่าเดิม
เพราะหนังสือดีเล่มนี้ เปลี่ยนแปลงชีวิตคนเราให้ดีขึ้นได้
สมชัย เบญจมิตร
สารบัญ
ส่วนที่ I หลักจิตวิทยาของการผัดวันประกันพรุ่ง
1 ทำความเข้าใจเรื่องผัดวัน... 17
2 วงจรของการผัดวันประกันพรุ่ง 30
3 วิธีแก้ปัญหาในวันที่ปัญหาหลายอย่างประดังกันเข้ามา 51
ส่วนที่ II วิธีเอาชนะการผัดวันประกันพรุ่งด้วยหลักจิตวิทยา
4 วิธีเอาชนะการผัดวันประกันพรุ่ง 72
5 ใช้กลยุทธ์จัดลำดับความสำคัญ 91
กลยุทธ์ : ใช้ตารางบริหารเวลาแบบ
ไอเซนฮาวร์
กลยุทธ์ : การจัดกลุ่มแบบ ABC
กลยุทธ์ : การกำหนดเส้นตาย
กลยุทธ์ : การตัดทุกอย่างที่ไม่ช่วยให้คุณบรรลุเป้าหมายในอนาคตทิ้งไป
กลยุทธ์ : เรียงลำดับความสำคัญตามเวลาที่ประมาณว่าต้องใช้ทำงานให้เสร็จสมบูรณ์
กลยุทธ์ : เรียงลำดับความสำคัญตามผลที่เกิดขึ้น
กลยุทธ์ : เรียงลำดับความสำคัญตามความพยายามที่คาดว่าต้องใช้
กลยุทธ์ : เรียงลำดับความสำคัญตาม
ผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตคุณ
6 กลยุทธ์การสร้างแรงจูงใจให้ทำงานโดยไม่ผัดวันประกันพรุ่ง 103
กลยุทธ์ : ตั้งคำถาม “ฉันอยากให้อนาคตเป็นยังไง”
กลยุทธ์ : ทบทวนปฏิทินงานสังคม
กลยุทธ์ : นึกได้แล้วทำเลย
กลยุทธ์ : สร้างภาพในใจว่าได้ทำงานเสร็จสมบูรณ์แล้ว
กลยุทธ์ : ใช้เทคนิคการมัดคู่ไปกับ
สิ่งยั่วยวนใจ
กลยุทธ์ : สำรวจตรวจสอบข้อดีข้อเสีย
กลยุทธ์ : ทำรายการงานที่ “ทำเสร็จแล้ว”
กลยุทธ์ : ทบทวนเป้าหมายของชีวิตคุณ
7 เทคนิควิธีลงมือทำงานให้สำเร็จ 113
กลยุทธ์ : เฝ้าระวังความคิดอันไร้ประโยชน์
กลยุทธ์ : ทำงานทั้งที่อยู่และไม่อยู่ในกำหนดการ
กลยุทธ์ : ซอยงานออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ
กลยุทธ์ : ใช้แรงหนุนนำ
กลยุทธ์ : ทำงานง่ายสุดหรือยากสุดก่อน
กลยุทธ์ : กำหนดเพดานเวลา
กลยุทธ์ : แค่ 5 นาทีเท่านั้นเอง
กลยุทธ์ : ทบทวนเรื่องที่เคยเสียใจ
8 วิธีทำงานอย่างมีสมาธิ 123
กลยุทธ์ : รู้ว่าช่วงไหนคือนาทีทองที่จะทำงานได้อย่างมีสมาธิ
กลยุทธ์ : ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อม
กลยุทธ์ : ย้ายสิ่งล่อตาล่อใจออกให้หมด
กลยุทธ์ : เขียนสิ่งยั่วใจแล้วมาตรวจสอบภายหลัง
กลยุทธ์ : ใช้เสียงเป็นตัวช่วย
กลยุทธ์ : หยุดพัก
กลยุทธ์ : ใช้เครื่องตั้งเวลา
กลยุทธ์ : เผื่อเวลาเพื่อการจัดแจงไว้ด้วย
9 วิธีเอาชนะการบ่ายเบี่ยงไม่อยากทำงาน 135
กลยุทธ์ : ระบุทรัพยากรที่มีอยู่ในมือ
กลยุทธ์ : ซอยงานให้ยิบย่อยลงไปอีก
กลยุทธ์ : เฝ้าระวังการพูดคุยเชิงลบ
กับตัวเอง
กลยุทธ์ : ตั้งคำถามมหัศจรรย์กับตัวเอง
กลยุทธ์ : ยอมรับผลการไม่ยอมตัดสินใจให้เด็ดขาด
กลยุทธ์ : จงรู้สึกดีที่ตัดสินใจไปอย่างนั้น
กลยุทธ์ : ปลอบขวัญตัวเอง
กลยุทธ์ : ทำการ์ดช่วยชีวิตไว้สักใบ
10 วิธีแก้ไขปัญหาอุปสรรคและทำงาน
ต่อเนื่องจนแล้วเสร็จตามขั้นตอน 147
กลยุทธ์ : กำหนดแผนการขึ้นมา
กลยุทธ์ : วางกลยุทธ์เรื่องการใช้เวลา
กลยุทธ์ : คิดหาแนวทางแก้ไขอุปสรรค
ที่อาจผุดขึ้นมาระหว่างทาง
กลยุทธ์ : ใช้การพูดคุยกับตัวเองเพื่อ
พาตัวออกมาจากจุดติดขัด
กลยุทธ์ : ตั้งรางวัลไว้เป็นการตอบแทน
กลยุทธ์ : อาศัยคู่หูผู้มีความรับผิดชอบ
กลยุทธ์ : กำหนดเป้าหมายระหว่างทาง
กลยุทธ์ : ยอมรับคำว่า “ก็ไม่เลวนักหรอก”
11 กลยุทธ์ปิดงานโครงการที่เริ่มไว้ให้เรียบร้อย 158
กลยุทธ์ : พูดคุยกับตัวเองด้วย
ความเห็นอกเห็นใจ
กลยุทธ์ : ตอบโต้คำวิพากษ์วิจารณ์ตัวเอง
กลยุทธ์ : พิจารณาหลักฐาน
กลยุทธ์ : คิดภาพว่าคุณกำลังจัดการ
ด้วยตัวคุณเอง
กลยุทธ์ : ซาบซึ้งด้านดีของความสำเร็จ
กลยุทธ์ : กำหนดเส้นตายในทางกลับกัน
กลยุทธ์ : เชื่อมโยงงานที่ทำเข้ากับ
เป้าหมายที่ตั้งไว้
กลยุทธ์ : ใช้การตอกย้ำยืนยันเชิงบวก
บทสรุป ทำต่อไปเรื่อย ๆ 169